Categories
Knowledge

Thailand State of Landfill

Situation

Waste in landfills accounts for 13% of GHG Emission Sources. The impact of landfill sites are environmentally disastrous as it pollutes the air and water sources as well as creates acidification. In Thailand, there are 70 legally-approved landfills in operation today in addition to 1,888 open dumping sites around the country(1).

The 9-year statistics indicate no significant correlation between the waste quantity and the changes in the open dumping and landfill sites. However, when compared to other disposal methodologies available, open dumping and landfilling make up between 70-80% of the number of waste management facilities.

What could be the rationale behind these figures?

Based on our research and hands-on experience working with communities within cities, rural areas, and tourist attractions, our take on the matter is as follows:

  1. Landfilling is still the most cost-effective way to dispose of waste (THB/Tonne) when compared to other means in the aspects of capital investment.

  2. Landfilling is attached to the RDF and Waste-to-Energy related businesses and therefore, could potentially be perceived as ‘manageable’ over time.

  3. In the absence of existing waste disposal facilities, remote areas prefer the open dumping and open burn methodologies as it is free.

  4. Long-standing open dump sites remain untouched as there is no clear ownership especially in the abandoned sites.

 

How can anyone get involved?

There is no silver bullet solution to the reduction of landfill usage. However, the change that is structural and systematic in nature can bring about the change together with the power of critical mass.

  1. Consumers and businesses alike should look harder into waste reduction in their day-to-day lives and operation workflow. This will ensure a more sustainable way towards zero waste to landfill while saving natural resources.

  2. There needs to be more accessible networks to facilitate the reusability of materials or things such as used clothes, old furniture, outdated electrical appliances. 

  3. Waste segregation at the last line of defense needs to be set in place together with the required equipment to enable the people to sort their waste correctly to ensure that recyclable materials can go into recycling process and that only the minimum amount is left to landfilling. 

GEPP Sa-Ard’s mission is to drive the zero landfill movement in Thailand for a cleaner place for us, our next generation to live.

Join us in the #zerolandfill mission.

 (1) Pollution Control Department Report, 2021

Categories
Knowledge

ประเทศไทย เมืองแห่งขยะฝังกลบ

ประเทศไทย เมืองแห่งขยะฝังกลบ

ของเสียในหลุมฝังกลบคิดเป็น 13% ของแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก สิ่งที่เกิดขึ้นในสถานที่ฝังกลบถือเป็นภัยครั้งใหญ่ที่สร้างผลกระทบเชิงลบต่อสิ่งแวดล้อมเนื่องจากก่อให้เกิดมลพิษต่อแหล่งอากาศและน้ํารวมทั้งสร้างความเป็นกรดอีกด้วย ปัจจุบันในประเทศไทยมีการฝังกลบขยะอย่างถูกกฎหมาย 70 แห่ง แต่บ่อทิ้งขยะก็ยังคงกระจัดกระจายอยู่มากถึง 1,888 แห่งทั่วประเทศ (1)

จากสถิติในตลอด 9 ปีที่ผ่านมา ยังไม่มีข้อมูลที่แน่นัดที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนของขยะที่เพิ่มมากขึ้น กับสิ่งที่เปลี่ยนแปลงในแหล่งทิ้งขยะฝังกลบ อย่างไรก็ตาม เมื่อได้ลองเปรียบเทียบกับทฤษฎี และหลักฐานที่มีอยู่ จะเห็นได้กว่า แหล่งทิ้งขยะฝังกลบมากกว่า 70-80% กลับกลายเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบสำคัญในการจัดการขยะในหลากหลายองค์กร

อะไรคือเหตุผลที่อยู่เบื้องหลังตัวเลขเหล่านี้?

จากประสบการณ์ในการทำงานกับชุมชนต่าง ๆ จากหลากหลายแห่ง และการวิเคราะห์ข้อมูล GEPP สามารถสรุปเป็นประเด็นสำคัญได้ ดังนี้

  1. การทำหลุมขยะฝังกลบยังคงเป็นวิธีที่ช่วยลดต้นทุนในการจัดการขยะได้มากที่สุด เมื่อเทียบกับวิธีอื่น ๆ
  2. การทำขยะฝังกลบมีขั้นตอนการจัดการที่มีประสิทธิภาพได้ตลอดเวลา ซึ่งจะเห็นได้จากบริษัทที่ทำเชื้อเพลิงขยะ และบริษัทประเภท Waste-to-Energy
  3. หากพื้นที่ไหนที่ไม่มีแหล่งทิ้งขยะ การสร้างหลุมฝังกลบขยะในพื้นที่เปิดก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
  4. การทำหลุมฝังกลบขยะยังคงมีปัญหาเรื่องของเจ้าของ และสิทธิในพื้นที่อยู่

 

ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมกับเรื่องนี้ได้อย่างไรบ้าง?

เราไม่สามารถปฏิเสธได้เลยว่า มันคงไม่มีวิธีไหนที่จะลดปัญหาของขยะฝังกลบได้ดีที่สุด อย่างไรก็ตาม การเริ่มเปลี่ยนแปลงแนวคิด และระบบของการจัดการขยะ จะสามารถสร้างผลกระทบเชิงบวกให้กับสิ่งแวดล้อมของเราในระยะยาวได้อย่างแน่นอน

  1. ผู้บริโภค และบริษัทต่าง ๆ ควรทำความเข้าใจถึงระบบการจัดการขยะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  2. สร้าง Network ที่มากขึ้น เพื่อให้ผู้คนสามารถเข้าถึง และเอื้อระบบการจัดการวัสดุที่สามารถนำไปรีไซเคิลให้มากขึ้นได้ เช่น เสื้อผ้าที่ใช้แล้ว เฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ และเครื่องใช้ไฟฟ้าสภาพเก่า
  3. สุดท้ายแล้ว การแยกขยะจะต้องอาศัยอุปกรณ์ที่จำเป็น เพื่อรวมถึงความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อให้แน่ใจว่าวัสดุที่รีไซเคิลได้สามารถเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลอย่างมีประสิทธิภาพ และเหลือปริมาณที่น้อยที่สุดก่อนที่จะถูกนำไปฝังกลบ

 (1) Pollution Control Department Report, 2021

Categories
Knowledge

Waste Intelligence report Volume 1 (2020)

 GEPP Waste Intelligence Report ปี 2563 ถูกจัดทําขึ้นโดยมีจุดประสงค์เพือเผยแพร่ บทวิเคราะห์ที่ เป็นประโยชน์ ต่อสาธารณะชน บุคคลทั่วไป หน่วยงาน องค์กร บริษัท สถานศึกษา ทีจะได้รับประโยชน์ในการ ศึกษาบทวิเคราะห์ ที่ได้มีการรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง ข้อสรุป ข้อเสนอทีมตีอการจัดการวัสดุเหลือทิ้งภายใน ประเทศไทย เพือสรา้ งกรอบแนวคิดใหมใ่ นการหาทางออกของปญหาโดยไม่ต้องเริ่ม จากศูนย์ ทีผู้อ่านสามารถนํา วิธีคิด หลักการ แนวทางในการปฎิบัติไปใช้ประโยชน์ อีกทั้งยังช่วยให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่ง ใหม่ในการบริหาร จัดการขยะ โดยมีกรอบการศึกษาเพื่อการจัดการของเสียในอนาคต